วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ธรรมจักรแปล

ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง

เอวัมเม สุตัง
ข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้

เอกัง สะมะยัง ภะคะวา พาราณะสิยัง วิหะระติ อิสิปะตะเน มิคะทาเย
สมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้พระนครพารณสี

ตัตระ โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ
ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกภิกษุปัญจวัคคีย์มาแล้ว ตรัสว่า

เทวเม ภิกขะเว อันตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ที่สุดแห่งการกระทำสองอย่างเหล่านี้ มีอยู่

ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา
เป็นสิ่งที่บรรพชิตไม่ควรข้องแวะเลย

โย จายัง กาเมสุ กามะสุขัลลิกานุโยโค
นี้คือการประกอบตนพัวพันอยู่ด้วยความใคร่ในกามทั้งหลาย

หีโน
เป็นของต่ำทราม

คัมโม
ของชาวบ้าน

โปถุชชะนิโก
เป็นของคนชั้นปุถุชน

อะนะริโย
ไม่ใช่ข้อปฏิบัติของพระอริยเจ้า

อะนัตถะสัญหิโต
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์เลย นี้อย่างหนึ่ง

โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค
อีกอย่างหนึ่ง คือประกอบการทรมานคนให้ลำบาก

ทุกโข
เป็นสิ่งนำมาซึ่งทุกข์

อะนะริโย
ไม่ใช่ข้อปฏิบัติของพระอริยเจ้า

อะนัตถะสัญหิโต
ไม่ประกอบด้วยประโยชน์เลย

เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ มัชฌิมาปะฏิปะทา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง ไม่เข้าไปหาที่สุดแห่งการกระทำสองอย่างนั้น มีอยู่

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา
เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว

จักขุกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดจักษุ

ญาณะกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดญาณ

อุปะสะมายะ
เพื่อความสงบ

อะภิญญายะ
เพื่อความรู้ยิ่ง

สัมโพธายะ
เพื่อความรู้พร้อม

นิพพานายะ สังวัตตะติ
เป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน

กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น เป็นอย่างไรเล่า

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา
เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคนได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว

จักขุกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดจักษุ

ญาณะกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดญาณ

อุปะสะมายะ
เพื่อความสงบ

อะภิญญายะ
เพื่อความรู้ยิ่ง

สัมโพธายะ
เพื่อความรู้พร้อม

นิพพานายะ สังวัตตะติ
เป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค
ข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลางนั้น คือ ข้อปฏิบัติเป็นหนทางอังประเสริฐ ประกอบด้วยองค์แปดประการนี้เอง

เสยยะถีทัง
ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ

สัมมาทิฏฐิ
ความเห็นชอบ (ความรู้ในทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์ ดับทุกข์ ดำเนินในถึงความดับทุกข์)

สัมมาสังกัปโป
ความดำริชอบ( เนกขัมมะ ดำริออกจากกาม พยาปาทะ ไม่มุ่งร้าย อะวิหิงสา ไม่เบียดเบียน)

สัมมาวาจา
การพูดจาชอบ (มุสาวาทา เว้นจากการพูดไม่จริง ปิสุณายะ วาจาย เว้นพูดส่อเสียด ผะรุสายะ วาจายะ เว้นพูดหยาบ สัมผัปปะลาปา เว้นพูดเพ้อเจ้อ)

สัมมากัมมันโต
การทำการงานชอบ (ปาณาติปาตา เว้นจากการฆ่า อะทินนาทานา เว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ กาเมสุมิจฉา เว้นจากการประพฤติผิดในกาม)

สัมมาอาชีโว
การเลี้ยงชีวิตชอบ (มิจฉาอาชีวัง ละการเลี้ยงชีวิตที่ผิดเสีย)

สัมมาวายาโม
ความพากเพียรชอบ (ทำความพอใจ พยายามปรารถความเพียร ประคองตั้งจิตไว้ เพื่อจะยังอกุศลธรรมอันเป็นบาปที่ยังไม่เกิดที่ยังไม่เกิด ไม่ให้เกิดขึ้น ประคองตั้งจิตไว้เพื่อความตั้งอยู่ ความเต็มรอบ แห่งกุศลธรรมที่เกิดขึ้น)

สัมมาสติ
ความระลึกชอบ (เห็นกายในกาย มีความเพียรเครื่องเผากิเลส มีสัมปชัญญะ สติ ถอนความพอใจและความไม่พอใจ เห็นเวทนาในเวทนา เห็นจิตในจิต เห็นธรรมในธรรม)

สัมมาสะมาธิ
ความตั้งใจมั่นชอบ (สงัดจากกาม สงัดจากธรรมที่เป็นอกุศล
เข้าถึงปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร มีปิติและสุขอันเกิดจากวิเวก
เข้าถึงทุติฌาน เครื่องผ่องใสแห่งใจในภายใน ไม่มีวิตก วิจาร มีแต่ปิติและสุขอันเกิดจากสมาธิ
เข้าถึงตติยฌาน มีแต่ความเป็นสติ เป็นธรรมชาตบริสุทธิเพราะอุเบกขา ย่อมเสวยความสุขด้วยนามกาย อยู่เป็นปรกติสุข
เข้าถึงจตุตถัง ฌานัง ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีแต่ความที่สติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขา)

อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้แล คือข้อปฏิบัติเป็นทางสายกลาง

ตะถาคะเตนะ อะภิสัมพุทธา
เป็นข้อปฏิบัติที่ตถาคตได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว

จักขุกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดจักษุ

ญาณะกะระณี
เป็นเครื่องกระทำให้เกิดญาณ

อุปะสะมายะ
เพื่อความสงบ

อะภิญญายะ
เพื่อความรู้ยิ่ง

สัมโพธายะ
เพื่อความรู้พร้อม

นิพพานะยะ สังวัตตะติ
เป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน

อิทัง โข ปะนะ ภิขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจังฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจจ์ คือทุกข์นี้ มีอยู่

ชาติปิ ทุกขา
คือความเกิดก็เป็นทุกข์

ชะราปิ ทุกขา
ความแก่ก็เป็นทุกข์

มะระณัมปิ ทุกขัง
ความตายก็เป็นทุกข์

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา
ความโศก ความร่ำไรรำพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจก็เป็นทุกข์

อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข
ความประสพกับสิ่งไม่เป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์

ปิเยหิ วิปปะโยโคทุกโข
ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักที่พอใจก็เป็นทุกข์

ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง
มีความปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์

สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขาฯ
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้งห้า เป็นตัวทุกข์

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจจ์คือเหตุให้เกิดทุกข์นี้ มีอยู่

ยายัง ตัณหา
นี้คือตัณหา

โปโนพภะวิกา
อันเป็นเครื่องทำให้มีการเกิดอีก

นันทิราคะสะหะคะตา
อันประกอบอยู่ด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิน

ตัตระตัตราภินันทินีฯ
เป็นเครื่องให้เพลินอย่างยิ่งในอารมณ์นั้น ๆ

เสยยะถีทังฯ
ได้แก่ตัณหาเหล่านี้ คือ

กามะตัณหา
ตัณหาในกาม

ภะวะตัณหา
ตัณหาในความมีความเป็น

วิภาวะตัณหา
ตัณหาในความไม่มีไม่เป็น

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจังฯ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจจ์ คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นี้ มีอยู่

โยตัสสาเยวะ ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ
นี้คือความดับสนิทเพราะจางไป โดยไม่เหลือของตัณหานั้น นั่นเอง

จาโค
เป็นความสละทิ้ง

ปะฏินิสสัคโค
เป็นความสลัดคืน

มุตติ
เป็นความปล่อย

อะนาละโยฯ
เป็นความทำไม่ให้มีที่อาศัยซึ่งตัณหานั้น

อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อริยสัจจ์คือข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือ แห่งทุกข์นี้ มีอยู่

อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโคฯ
นี้คือข้อปฏิบัติเป็นหนทางอันประเสริฐ ประกอบด้วย องค์แปดประการ

เสยยะถีทังฯ
ได้แก่สิ่งเหล่านี้คือ

สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ
สัมมาสังกัปโป ความดำริชอบ
สัมมาวาจา การพูดจาชอบ
สัมมากัมมันโต การทำการงานชอบ
สัมมาอาชีโว การเลี้ยงชีวิตชอบ
สัมมาวายาโม ความพากเพียรชอบ
สัมมาสติ ความระลึกชอบ
สัมมาสะมาธิ ความตั้งใจมั่นชอบ

อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ว่าอริยสัจจ์คือทุกข์ เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ
ว่า ก็อริยสัจจ์คือทุกข์นี้นั้นแล เป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ ดังนี้

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปริญญาตันติ
ว่าก็อริยสัจจ์คือทุกข์นั้นแล เรากำหนดรู้ได้แล้ว ดังนี้

อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะระยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ,ญาณัง อุทะปาทิ,ปัญญา อุทะปาทิ,วิชชา อุทะปาทิ, อาโลโก อุทะปาทิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายจักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ว่าอริยสัจจ์ คือเหตุให้เกิดทุกข์ เป็นอย่างนี้ อย่างนี้ ดังนี้

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ
ว่า ก็อริยสัจจ์คือเหตุให้เกิดทุกข์นั้นแล เป็นสิ่งที่ควรละเสีย ดังนี้,

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันต
ว่าก็อริยสัจจ์คือเหตุให้เกิดทุกข์นั้นแล เราละได้แล้ว ดังนี้

อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เมภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ว่าอริยสัจจ์คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ
ว่า ก็อริยสัจจ์คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นั้นแล เป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง ดังนี้,

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ
ว่า ก็อริยสัจจ์คือความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นั้นแล เราทำให้แจ้งได้แล้ว ดังนี้

อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินีปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ญาณเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ปัญญาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา วิชชาเกิดขึ้นแล้วแก่เรา แสงสว่างเกิดขึ้นแล้วแก่เราในธรรมที่เราไม่เคยฟังมาแต่ก่อน ว่าอริยสัจจ์ คือข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ เป็นอย่างนี้อย่างนี้ ดังนี้

ตังโข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินีปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาเวตัพพันติ
ว่าก็อริยสัจจ์คือ ข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นั้นแล เป็นสิ่งที่ควรทำให้เกิดมี ดังนี้

ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินีปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ภาวิตันติ
ว่าก็อริยสัจจ์ คือข้อปฏิบัติที่ทำสัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์นั้นแล เราทำให้เกิดมีได้แล้ว ดังนี้

ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยาถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิติ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง มีปริวัฏฏ์สาม มีอาการสิบสอง เช่นนั้น ในอริยสัจจ์ทั้งสี่เหล่านี้ ยังไม่เป็นของบริสุทธิ์หมดจดด้วยดีแก่เรา อยู่เพียงใด

เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรหมะเก สัสสะมะณะ พราหมะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตลอดกาลเพียงนั้น เรายังไม่ปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว ซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลกพร้อมทั้ง

เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์

ยะโต จะโข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ เอวันติ ปะริวัฏฏัง ทวาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใด ปัญญาเครื่องรู้เห็นตามที่เป็นจริง มีปริวัฏฏ์สาม มีอาการสิบสอง เช่นนั้น ในอริยสัจจ์ทั้งนี่เหล่านี้ เป็นของบริสุทธิ์ หมดจดด้วยดีแก่เรา

อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพรหมะเก สัสสะมะณะพรามะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ อะนุตตะรัง สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปัจจัญญาสิง
เมื่อนั้น เราปฏิญญาว่าได้ตรัสรู้พร้อม เฉพาะแล้ว ซึ่งอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทั้งเทวดาและมนุษย์

ญาณัญจะ ปะนะ เม ภิกขะเว ทัสสะนัง อะทะปาทิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ญาณและทัสสนะได้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา

เม วิมุตติ
ว่าความหลุดพ้นของเราไม่กลับกำเริบ

อะยะมันติมา ชาติ
ความเกิดนี้ เป็นความเกิดครั้งสุดท้าย

นัตถิทานิ ปุนัพภะโว ติ
บัดนี้ ความเกิดอีกย่อมไม่มี ดังนี้

ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ตาวะติงสานัง เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
พรหมะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปะโรหิตา เทวานัง สัททัง สุตวา
มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมา เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภา เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภา เทวานัง สัททัง สุตวา
อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
สุภะกิณณะหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณณะหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลา เทวานัง สัททัง สุตวา
อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหา เทวานัง สัททัง สุตวา
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา
สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสา เทวานัง สัททัง สุตวา
สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสี เทวานัง สัททัง สุตวา
อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะวา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสมินติ

อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ ยาวะ พรหมะโลกา สัทโท อัพภุคคัจฉิ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ สังกัมปิ สัมปะกัมปิ สัมปะเวธิ อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง

อะถะ โข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ

อิติหิทัง อายัสมะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญ เตววะ นามัง อะโหสีติ

วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552

พระอาการวัตตสูตร 28 พระองค์ พระไตรปิฎก

นะโม

สัมพุทเธ อัฎฐะวีสัญจะ ทะวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต
สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต
สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต

ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า 512,028 พระองค์
1,024,055 พระองค์
2,048,109 พระองค์

ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อมพระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย
ของพระสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น ด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่ง
การกระทำความนอบน้อม จงขจัดเสียซึ่งสิ่งอันไม่เป็นมงคลงทั้งปวง
แม้อันตรายทั้งหลายเป็นเอนก จงพินาศไปสิ้น

คาถาบูชาพระพุทธรูป 11 องค์ และพระพุทธบาท สระบุรี

คาถาบูชาประทีป
ให้จุดประทีป ตะเกียง หรือโคมไฟก็ได้ บูชาพระ แล้วบูชาด้วยพระคาถานี้ 3 จบ เสร็จแล้วกราบลง ตั้งจิตอธิษฐานตามความปรารถนาจะสำเร็จดังตั้งใจ

เตนะ วุตตัง ตาวะติงเส ยะทา พุทโธ ปัณฑุกัมพะละสิลายะ ปาริฉัตตะกะมูลัมหิ วิหาสิ ปะริสุตตะโม ทะสะสะหัสสะโลกะธาตูสุ สันนิปะติตะวานะ เทวะตา ปะยิรูปะสันติ สัมพุทธัง วะสันตัง นักขะมุททะนินะ โกจิ เทโว วัณเณนะ สัมพุทธัสสะ วิโรจะติ สัพเพ เทเว อิติ กัมมะ สัมพุทโธ วะ วิโรจะติ

ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิญเทพยาดาเจ้าทั้งหลาย
โปรดได้เสด็จมาฟังการสวดมนต์ของข้าพเจ้า
ขอให้มาอนุโมทนา และประสิทธิ์ประสาทพรให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเทอญ

พุทธบูชา มหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มหาปัญโญ สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ

บูชาพระรัตนตรัย

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ

กราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสามิ (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)
มัยหัง มาตาปิตู นังวะ ปาเทวันทามิ สาทะรัง (กราบ)
ปัญญาวุฒิกะเรเต เต ทินโนวาเทนะมามิหัง (กราบ)

บทนมัสการพระพุทธเจ้า
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

ขอขมาพระรัตนตรัย

วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต

ข้าพเจ้าขอขมากรรม หากกรรมใดที่ข้าพเจ้าได้กระทำแล้วผิดพลาดประการใด
ด้วยกาย วาจา และด้วยใจก็ดี ตั้งแต่อดีตชาติ เป็นต้นมาจวบจนในวันนี้
ทั้งที่ตั้งใจก็ดีไม่ตั้งใจก็ดี ทั้งที่ข้าพเจ้า ระลึกได้ก็ดี ระลึกไม่ได้ก็ดี
ทั้งที่ข้าพเจ้ารู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี และรู้เท่าถึงการณ์ก็ดี
ขอทุก ๆ พระองค์ จงโปรดเมตตา อโหสิกรรม ให้แก่ข้าพเจ้าด้วยเทอญ

บทไตรสรณคมน์

พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สรณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ

ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย

(ก่อนและหลังภาวนาให้เริ่มคิด)
พระพุทธเจ้านิพพานไปแล้ว พระสงฆ์สาวกที่เป็นอริยะนิพพานไปแล้วก็จริง
แต่อำนาจบุญบารมีของท่านไม่ได้เอาไปด้วย ยังทิ้งเอาไว้ให้อยู่คู่วัฏฏะต่อไป
และพระพุทธเจ้า พระสงฆ์ที่เป็นอริยะ ในวงหมื่นจักรวาลอื่นที่ยังทรงพระชนม์อยู่ก็ยังมีอยู่อีกมาก
อำนาจของพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมแผ่ไปไม่มีขอบเขต แผ่ไปไม่มีประมาณอยู่แล้ว
เมื่อใครระลึกนึกถึงก็เป็นอันต่อเชื่อมกับสัญญาณท่านทันที
ฤทธิ์ 10 อย่าง ฤทธิ์อริยะ + ฤทธิ์อธิษฐาน + บุญฤทธิ์

ข้าพเจ้าขอตั้งจิตอธิษฐษานขออาราธนาบารมี ขอถึงอำนาจพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์
ตังเมสะทีโก มังสุเรโส อะปะนา ปะสุสุปิอะ ธะสีติ ปุวิสิเว กุโกกะโก นมามิหัง
เตชะสุเนมะภูจะนาวิเว นะโมพุทธายะ
พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์
พระธรรม พระสงฆ์
จงดลบันดาลบุญที่ข้าพเจ้า เคยสร้างมาตั้งแต่อดีตจนนถึงปัจจุบัน และที่จะมีอีกในอนาคต และกำลังจะสวดมนต์ ภาวนา เจริญสติกรรมฐาน ภาวนาเวลานี้ บุญนี้จงเป็นของ เทวดาที่ปกปักรักษา พระพุทธเมตตา หลวงพ่อองค์ดำ พระแก้วมรกต พระพุทธสิหิงค์ พระพุทธชินราช หลวงพ่อวัดไร่ขิง หลวงพ่อพุทธมงคล หลวงพ่อวัดบ้านแหลม นะมะนะหลวงพ่อโสธร หลวงพ่อโต บางพลี หลวงพ่อทอง วัดเขาตะเครา หลวงพ่อโต วัดพนัญเชิง หลวงพ่อทอง วัดไตรมิตร พระสีวลี พระสังขกาจย์ พระอุปคุต
หลวงปู่อรุกขะเทวา โพธิรังษี จักระพรหมมุนี อิกะวิติ พุทโธ
พระครู พ่อครูมเหสักข์ปลัยโกฏิมหาพรหมฤษี อิติปิโส ภควา โชคดี พระฤษีสัจจพันธ์ พ่อแก่
หลวงปู่ทวด สมเด็จพระพุฒาจารย์ โต วัดระฆัง หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ หลวงพ่อแย้ม หลวงปู่ศุข หลวงปู่มั่น หลวงพ่อดำ วัดมุจลินท์ หลวงพ่อปาน หลวงปู่แหวน หลวงปูเทสก์ ท่านพ่อลี หลวงพ่อหนอ หลวงพ่อสด หลวงพ่อฤษีลิงดำ
ครูบาอาจารย์ทุกรูปทุกนาม บิดามารดาทุกภพทุกชาติ
บุญนี้จงเป็นของเทวดาผู้รักษาตัวข้าทุกรูปทุกนาม เทวดาผู้รักษาบุตรของข้า เทวดาที่ดูแลบ้าน อาคาร ร้านค้า กิจการค้า
ในขณะสวดมนต์และนั่งสมาธิหากเกิดบุญกุศลขึ้นเมื่อใดขอให้ท่านอธิษฐานเอาบุญจากข้าพเจ้าไปได้เลย
เมื่อท่านทั้งหลายได้บุญแล้ว จงมีความสุข ความเจริญ มีฤทธิ์อำนาจ มีอิทธิฤทธิ์ จงทรงญานบารมีสูง ๆ ยิ่งขึ้นไปเทอญ

ข้าทำด้วยความบริสุทธิ์ใจ ขอให้พ้นทุกข์ ขอให้กรรมที่ดีนี้ตอบสนองข้าทั้งในชาตินี้และชาติหน้า
จงช่วยเหลือให้ผู้ส่งบุญให้ได้รับความสำเร็จในหน้าที่การงาน พบช่องทางทำมาหากินที่แจ้งชัด
โปรดช่วยเหลือธุรกิจ การค้า กิจการที่อยู่นี้รุ่งเรือง เรียกลูกค้ามาอุดหนุนให้มาก ๆ ด้วย
ให้ประสพความสำเร็จ เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ขึ้น มีความสุขร่วมกันตลอดกาลนานเทอญ

พุทธัง ชีวิตัง ยะวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
อิติปิโส ภควา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ

ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ

สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

คาถามหาเศรษฐี ของพระพุทธเจ้า

อัตตะทัตถัง ปะรัตเถนะ พะหุนาปิ นะ หาปะเย
อัตถะทัตถะ มะภิญญายะ สะทัตถะปะสุโต สิยา

ตาข่ายเพชรพระพุทธเจ้า

ชาโล มะหาชาโล ชาลัง มะหาชาลัง ชาลิเต มะหาชาลิเต ชาลิตัง มะหาชาลิตัง มุตเต มุตเต สัมปัตเต
มุตตัง สัมปัตตัง สุตัง คะมิติสุตัง คะมิติ มัคคะยีติ ทิฏฐิลา ทัณฑะลา มัณฑะลาโรคิลา กะระลา ทุพพิลา
ริตติ ริตติ กิตติ กิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ มุตติ มุตติ จุตติ จุตติ ธาระณี ธาระณีติ อิทัง ธาระณะปะริตตัง

หลวงพ่อเมตตา พุทธคยา ประเทศอินเดีย
อิติปิโสภะคะวา พุทธะเมตตัง สุวัณณะ ปะฏิมัง

หลวงพ่อดำ นาลันทา ประเทศอินเดีย

อิติปิโส ภะคะวา กาฬะวัณณะ พุทธะปะฏิมัง
พุทธะเมตตัง จิตตัง มะมะ พุทธะพุทธานุภาเวนะ
ธัมมะเมตตัง จิตตัง มะมะ ธัมมะธัมมานุภาเวนะ
สังฆะเมตตัง จิตตัง มะมะ สังฆะสังฆานุภาเวนะ

ขอพุทธานุภาพ ธัมมานุภาพ สังฆานุภาพ พุทธบารมี ธัมมบารมี สังฆะบารมี
พุทธัง อธิษฐาน บารมี ธัมมัง อธิษฐาน บารมี สังฆัง อธิษฐาน บารมี

ที่ข้าพเจ้า.................ได้บูชาแล้ว
จงมีพลานุภาพอันยิ่งใหญ่ จงดลบันดาลส่งผลให้ข้าพเจ้า และครอบครัวมีอุดมมงคลอันสูงสุด ประสพพบแต่สิ่งที่เป็นมงคลดี ๆ
คนดี ๆขอให้เข้ามาในชีวิต มีสติปัญญาดี ธุรกิจการงานของข้าพเจ้า จงชนะ ปลอดภัย ร่ำรวย ไม่จน โชคดี
ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีร่างกายและสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ในที่สุดขอให้ข้าพเจ้ามีปัญญาได้ดวงตาเห็นธรรม
รู้แจ้ง เห็นจริง ในอริยสัจ 4 ได้ตาทิพย์ หูทิพย์ และเจโตปริยะญาณพร้อมทั้งเกิดดวงตาเห็นธรรม ได้สำเร็จมรรคผล นิพพานเทอญ

ขอพระองค์ท่านได้โปรดประทานพร ให้ข้าพเจ้าพ้นจาก สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย
สัพพะเคราห์ เสนียดจัญไร บุคคลพาล ศัตรูหมู่มาร จงพ้นไปจากตัวข้าพเจ้า

สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิการิยตถาคโต สิทธิเตโช ชะโยนิจจัง สิทธิลาโภนิรันตะรัง สัพพะสิทธิ ภะวันตุโว
ขอให้ได้ซึ่ง โภคสมบัติ บริวารสมบัติ กุศลสมบัติ มนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติ นิพพานสมบัติ


พระประธานอุโบสถ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม

อิติปิโส ภควา...
พาหุง...
ชยันโต....

พระแก้วมรกต กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 500

วาละลุกัง สังวาตัง

พุทธะ มะหามณีระตะนะ ปะฎิมากะรัง ปูเชมิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มะหาเตโช เจวะ มะหาปัญโญ จะ มะหาโภโค จะ มะหายะโส จะ ภะวันตุเม นิพพานัสสะ ปัจจะโย โหตุ

พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่ พ.ศ. 700
อิติ ปะวะระสิหิงโค อุตตะมะยะโสปิ เตโช ยัตถะ กัตถะ จิตโตโส สักกาโร อุปาโท
สะกาละ พุทธะสาสะนัง โชตะยันโตวะ ทีโป สุระนะเรหิ มะหิโต ธะระมาโนวะ พุทโธ ติ


พระพุทธชินราช พิษณุโลก พ.ศ. 1500

กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา ชินะราชะพุทธะรูปังสิริธัมมะติปิฏะกะราเชนะ กะตัง นะมามิหัง

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา เทวะนะคะเร จักกิวังสัสสะ
ปัญจะมะ มะหาราเชนะ ชินะราชาพุทธะรูปัง กะตัง นะมามิหัง

อิเมหิ นานาสักกาเรหิ อะภิปูชิเตหิ ทีฆายุโก โหมิ อะโรโค สุขิโต สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง ปิยัง มะมะ
ปะสิทธิลาโภ ชะโย โหตุ สัพพะทา พุทธชินะราชา อภิปาเลตุมัง นะโมพุทธายะ

นะชาลิติ ประสิทธิลาภา ปะสันนะ นะจิตตา สะทาโหติ ปิยังมะมะ สัพเพชะนา พะหูชะนา สัพเพทิสา สะมาขะตา
กาละโภชะนา วิกาละโภชะนา อาคัจฉันติ


หลวงพ่อวัดไร่ขิง นครปฐม
กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา มะเหสักขายะ เทวะตายะ อะภิปาถิตัง อิทธิปาฏิหาริกัง มังคะละ จินตารามะ
พุทธะปฏิมาการัง ปูชามิหัง ยาวะชีวัญจะ สุกัมมิโก สุขะปัตถิตายะ

หลวงพ่อวัดบ้านแหลม แม่กลอง สมุทรสงคราม ก่อน พ.ศ. 2370

นะ มะ ระ อะ นะ เท วะ อะ
สะทา วะชิระสะมุททะวะระวิหาเร ปะติฏฐิตัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง ปัตตะหัตถัง พุทธะรูปัง อะหัง วันทามิ ทูระโต

พระคาถาหลวงพ่อโสธร ฉะเชิงเทรา ก่อน พ.ศ. 2451

อิติ อิติ อิติ โสธโร นะ โม พุท ธา ยะ ยะ ธา พุทธ โม นะ

นะ ทรงฟ้า โม ทรงดิน พุทธ ทรงสินธุ์ ธา ทรงสมุทร ยะ ทรงอากาศ
พุทธังแคล้วคลาด ธัมมังแคล้วคลาด สังฆังแคล้วคลาด ศัตรูภัยพาลวินาศสันติ

นะกะโร กุกกุสันโธ สิโรมัชเฌ โมกาโร โกนาคะมะโน นานาจิตเตพุทธะกาโร กัสสะโปพุทโธ จะ ทะเวเนเต
ธากาโร ศรีศากกะยะมุนี โคตะโม ยะกันเน ยะกาโร อะริยะ เมตตรัยโย ชิวหาทีเต ปัญจะพุทธา นะมามิหัง

โสธะรัง นามะ อิทธิปฏิหาริกะรัง พุทธะรูปัง อะหัง วันทามิ สัพพะโส

พุทธะบูชา มะหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มะหาปัญโญ สังฆะบูชา มะหาโภคะวะโห

พุทธัง อาราธนานัง ธัมมัง อาราธนานัง สังฆัง อาราธนานัง
พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ
ฆังรังขตุมหาลาภา ภวันตุเม

นะโมพุทธายะ อิกะวิติพุทโธ นะมะพะธะ จะภะกะสะ พุทธะสังมิ มะอะอุ อะสังวิสุโลปุสะพุภะ จะภะกะสะ
อิสวาสุ นะมะอะอุ สุสวาอิ อุอะมะนะ ทุสะนิมะ

หลวงพ่อโต บางพลี สมุทรปราการ

อิมินาสักกาเรนะ พุทธะมหานุภาโว อิมินาสักกาเรนะ ธัมมะมหานุภาโว อิมินา สักกาเรนะ สังฆะมหานุภาโว
อิเมยันตา มหาเตชา มหานุภาตะชาติกา มหามังคะละ สัมพุทตา อันตราเยวินาสะกา
สัพพะถะสุขะ สัมพุทตา อเนกาคุณันตา นานับปะโก สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วินาสสันติ
สัพพะลาภัง สัพพะสุขัง ภะวันตุเม

หลวงพ่อทอง วัดเขาตะเครา บ้านแหลม เพชรบุรี
กาเยนะ วาจายะ มะยะเจตะสา มาระวิชะยัง สุวัณณะมายัง มะหาเตชัง มะหาลาภัง พุทธะปฏิมัง เมตตาจิตตัง
นะมามิหัง โอมะ ศรี ศรี ชัยยะ ชัยยะ สัพพะทุกขา อุปัททวา สัพพันตะรายา สัพพะโรคา วินาสสันติ
สะทาโสตถี ภะวันตุ เม

พุทโธ เม สัตตะรัตตะนะ ปาการัง อัมหากัง สรณังคัจฉามิ ธัมโม เม สัตตะรัตตะนะ ปาการัง อัมหากัง สรณังคัจฉามิ
สังโฆ เม สัตตะรัตตะนะ ปาการัง อัมหากัง สรณังคัจฉามิ

สุสุ ระระ ทาทา โสโส นะโมพุทธายะ พุทธะเมตตา อะระหัง ปิติ โธ ปราณี ปิติ อะระหัง

หลวงพ่อทองสุโขทัยไตรมิตร กรุงเทพมหานคร
อิ สะวา สุ สะวา สุ อิ สะวา อิ พุทธะ ปิติอิ นชาลีติ ประสิทธิเม

พระไตรรัตนนายก หลวงพ่อโต วัดพนันเชิง อยุธยา
โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตสะ จิตตัง นะมามิหัง

หลวงพ่อพระใส หนองคาย
อะหัง พุทโธ โพธิชะโย เสยยะคุโณ โพธิสัตโต มะหาลาโภ ปิยัง มะมะ ภะวันตุ โน โหตุ สัพพะทา

หลวงพ่อเพชร วัดท่าหลวง จังหวัดพิจิตร

กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา วะชิรัง นามะ ปะฏิมัง อิทธิปาฏิหาริกะรัง พุทธะรูปัง อะหัง วันทามิ สัพพะโส สะทาโสตถี ภะวันตุ เมฯ

หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลย์วรวิหาร สุพรรณบุรี
โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตสะจิตตัง นะมามิหัง

หลวงพ่อพุทธมงคล อะสังวิสุโลปุสะพุภะ อิสวาสุ สุสวาอิ พุทธปิติอิ จะพะกะสะ พามาอุกาสะนะทุ
อิระชะคะตะระสา ติหังจะโตโรถินัง ปิสัมละโลปุสัตพุทธ โสมาณกะริถาโธ ภะสัมสัมวิสะเทภะ คะพุทธปันทูธัมวะคะ
วาโธโนอะมะมะวา อะวิสุนุสสานุสติ อิติปารมิตาติงสา อิติสัพพัญญูมาคะตา อิติปิโสจะเตนะโม มะอะอุ พุทธะสังมิ
อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเสพุทธนาเมอิ อิโสตังพุทธปิติอิ นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง
อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง สุอะนะอะนะมะพะทะ จะภะกะสะ นะโมพุทธายะ เตชะสุเนมะภูจะนาวิเว
อิตินะเย ปะรังยุตเต มหาลาโภ โหนุ ภะวันตุเม

ธะนังโภคัง ทุสะมะนิ ธะนังโภคง ทุสะมะนะ อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง อะสุนะอะ นะมะพะทะ จะพะกะสะ
นะโมพุทธายะ เตชะสุเนมะภูจะนาวิเว อิตินะเยปะรังยุตเตมหาลาโภ โหตุภะวันตุเม

รอยพระพุทธบาท สระบุรี (พระฤษีสัจจพันธ์ ขอให้ประทับรอยพระบาทนั้น)
สัจจะ สัจจัง อะระหัง ภควา นมามิหัง

พระสยามเทวาทิราช

สยามะเทวาธิราชา เทวาติเทวา มหิทธิกา เทยยรัฏฐัง อนุรักขันตุ อาโรคะเยเนะ สุเขนะ จะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา สยามะเทวานุภาเวนะ สยามะเทวะเตชะสา
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัททวา อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโน

ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสถถิภาคะยัง สุขัง พะลัง สิริ อายุจะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒิ จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชีวิสิทธิ ภะวันตุ เม

พระศรีอริยเมตไตรย

ธุระนะสิ ธุรินะสะ กะระ นะโมพุทธายะ การะ ไมตรี เมตัง จิตติธะนัง ชีวิตัง จุติ นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง

วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2552

มารยาท ในการสนทนา

1. อย่าเอาความไม่ดีของผู้อื่นไปพูดให้ใครฟัง

2. อย่าตะโกนข้ามหัวผู้อื่น

3. อย่าทำให้ผู้ที่พูดคุยด้วยรู้สึกว่าขายหน้า

4. พูดคุยด้วยเสียงดังพอประมาณ

5. ต้องวางตัวและพูดคุยให้เหมาะสมกับสถานที่

6. ไม่พูดคุยอวดอ้างความรวยหรือความดีของตนเอง

7. หลีกเลี่ยงการพูดคุยหรือวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา การเมือง หรือความรัก

8. ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเข้า

9. ไม่ควรพูดนินทาผู้อื่นในแง่ลบ

10. รู้จักควรไม่ควร และรู้จักที่ต่ำที่สูง

11. รักษาความลับให้เป็น

12. ต้องรักษาคำมั่นสัญญาที่ให้ไว้

13. อย่าพูดทับถมหรือเกทับผู้อื่น

14. แสดงความจริงใจและมีความจริงใจในการพูดคุย

15. อย่าพูดคำหยาบลามก

16. อย่าพูดส่อเสียด

17. อย่าพูดจากดูถูกเหยียดหยาม

18. อย่าพูดจาติเตียน

19. อย่ายกยอจนเกินเลย

20. อย่าบอกปัดหรือปฏิเสธในความดีของผู้อื่น

21. พูดให้มีสาระ

22. อย่าพูดมากจนน่ารำคาญ

23. อย่าพูดจาล้อเลียนใคร

24. อย่าพูดจาให้ร้ายป้ายสีใคร

25. อย่าพูดคำสบถสาบาน

26. อย่าถ่อมตัวมากเกินไป

27. รู้จักเปลียนหัวข้อพูดคุย

28. รู้จักเลือกหัวข้อที่จะพูดคุย

29. อย่าเป็นคนขี้บ่น

30. ไม่ควรปรับทุกข์กับผู้อื่นโดยไม่จำเป็น

วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552

จิติ วิตัง นะกรึง คะรัง

คาถาฝากสมบัติ อินทะภัคคะยัง เทวะภัคยัง

อินทะภัคคะยัง เทวะภัคยัง
พรหมะภัคยัง มหาพรหมะภัคยัง
อิสีภัคยัง มหาอิสีภัคยัง
มุนีภัคยัง มหามุนีภัคยัง
ปุริสะภัคยัง มหาปุริสะภัคยัง
จักกะวัตติภัคยัง มหาจักกะวัตติภัคยัง
พุทธะภัคยัง ปัจเจกะพุทธตัคยัง
อะระหันตะพุทธะภัคยัง สัพพะสิทธิวิชชา จะระณะภัคยัง
สัพพะโลกาธิปะติญาณะภัคยัง สัพพะโลกะจะริยะญาณะภัคยัง
เอเตนะ ภัคเยนะ เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ
มะมะ สุวัตถิโหตุ มัยหัง สวาหายะ
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ
เสยยะถีทัง หุรูหุรูสวาหายะ

คาถาเรียกลาภ อินทะนิพพานัง

อินทะนิพพานัง เทวะนิพพานัง
พรหมนิพพานัง มหาพรหมะนิพพานัง
อิสีนิพพานัง มหาอิสีนิพพานัง
มุนีนิพพานัง มหามุนีนิพพานัง
มหาจักกะวัตตินิพพานัง พุทธะนิพพานัง
ปัจเจกะพุทธะนิพพานัง อะระหันตะนิพพานัง
สัพพะสิทธิวิชชา จะระณะนิพพานัง
สัพพะโลกาธิปะติญานะนิพพานัง สัพพะโลกะจะริยะญาณะนิพพานัง
เอเตนะนิพพาเนนะ เอเตนะสัจจะวะจะเนนะ
มะมะ สุวัติถิโหตุ มัยหัง สวาหายะ
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ
เสยยะถีทัง หุรู หุรู สวาหายะ

คาถาพระสีวลี พระสังกัจจายน์ พระอุปคุต

(พระศรีอารยะเมตไตร เศียรเกลี้ยงไม่มีเม็ดผม และครองจีวรเปิดหน้า)
พระสังขกัจจายน์ ขมวดผมแบบเม็ดบนศรีษะ ห่มจีวรเฉียง มีสังฆาฏิพาดไหล่
ผู้มีปฏิภาณเฉียบแหลม เลิศทางอธิบายความพุทธภาษิต

ให้อธิษฐานทุกวัน เช้าตอนก่อนออกทำงาน-ก่อนนอน หรือ 20.30 น ยิ่งดีเพราะโยคีปฏิบัติแผ่เมตตา
ให้วางจิตเบา ๆ โน้มนำพระบารมีเข้าตัว หรือผู้ที่ได้แล้ว จะเห็นเองว่าจะมีพระบารมีเข้าตัวเป็นแสงสว่างวาบ
ซึ่งส่วนใหญ่รังสีทางโชคลาภมักจะเป็นรังสีสีทอง

พระสีวลี เลิศทางโชคลาภ บวชในสำนักพระสารีบุตร
พระมหากัจจายนะ พระพุทธเจ้าบวชให้ เลิศทางอธิบายธรรมโดยย่อ และทางโชคลาภ
พระอุปคุต บวชหลังจากพุทธกาลประมาณ 200 ปี

พระคาถาขอโชคลาภจากสวรรค์
นะโม 3 จบ
อินทะปุญญัง มหาปัญโญ พุทโธ เทสัง ปิยัง โหตุ
สีวลีนัง มหานาโม กัจจายะนะทิวสัง ลาโภ นามะนัง โหตุ
ท่องบนเป็นประจำ โชคลาภไหลมาเทมา ชีวิต มีแต่ความสมหวัง ไม่มีติดขัด
อย่าลืมใส่บาตร แล้วแผ่บุญให้เทพเทวา ที่ท่านช่วยเหลือเราด้วยนะ
คาถาบูชา 3 พระอรหันต์แห่งโชคลาภ
อิมินา สักกาเรนะ พุทธังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สีวลีเถระ ปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สังกัจจายน์เถระ ปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ อุปคุตเถระ ปูเชมิ
สีวลี สังกัจจายน์ อุปคุต จะ มหาเถโร
เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ ตังสะทา
เอหิบูชา เอหิจิตติจิตตัง อินทาพรหมมัง มะนุสสังจะปูชิตัง
สีวลี อาราธนานัง นะชาลีติ
สังกัจจายน์ อาราธนานัง นะปุเนวัง
อุปคุต อารธนานัง จิตติลาภัง จิตตังสุขัง
สีวลี ประสิทธิเม สัพพะลาภัง สะทาโสตถี
สังกัจจายน์ ประสิทธิเม มหาโภคัง สุขัง ปัจจะยาทิมหิ
อุปคุต ประสิทธิเม มหาลาภัง สัพพะสุโข ภวันตุเม
(สวดวันละ 9 จบ หรือ 11 จบ)
บูชาด้วยดอกไม้ขาว ดอกไม้มีกลิ่นหอมและดอกบัวทุกชนิด อย่างละ 3-5-7 ดอก
น้ำสะอาด 1 ถ้วย ลอยดอกมะลิไว้บนน้ำ
จุดธูปเทียนบูชาแล้วสวดคาถา อธิษฐานขอโชคสำเร็จ
วันพฤหัสบดี ถวายน้ำผึ้ง น้ำมะพร้าวอ่อน กล้วย
สีวะลี จะ มะหาเถโร   เทวะตา นะระปูชิโต   โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ   สีวะลี จะ มะหาเถโร   ยักขา เทวา ภิปูชิโต โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ   อะหัง วันทามิ ตังสะทา สีวะลี เถรัสสะ เอตัง  โสตถิลาภัง ภะวันตุ เม
นะ นโม ความอ่อนน้อมไม่กระด้างดื้อดึง
ชา ชาคริยานุโยค การประกอบความเพียรตื่นอยู่ไม่เห็นแก่นอนมากนัก
ลี ลีฬหะ การเยื้องกรายขวนขายในธุระที่ชอบ
ติ อิติ ดังนี้

สิทธิกิจจัง

สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิการิยะตะถาคะโต
สิทธิลาโภ สิทธิเตโช สัพพะสิทธิภะวันตุโว

สิทธิกิจจัง กิจจานุกิจ ซึ่งบำเพ็ญกรณียกิจ
จงสำเร็จ เสร็จสมดังข้าพร้องพร่ำถวายฉะนี้เทอญ

สิทธิกัมมัง การงานผดุงเพื่อบำรุงรักษา
อย่าเริศอย่าโรยช้า สิทธิได้พลัน ๆ เทอญแลนา

สิทธิการิยะตะถาคะโต พระสรรเพชญ์เผด็จมารมอดฉันใด
ปลอดภัยแผ้วคลาดแคล้วพ้นภัยพาลฉับพลันเทอญ

สิทธิลาโภ นิรันตะรัง อีกราชลาภทุกสิ่งสรรพ
จงนิรันดรหลั่งล้น ดังหนึ่งนทีธารท้น อย่ารู้ขาดสูญเลยนา

สิทธิเตโช ชะโยนิจจัง เดชอำนาจแผ่ทั่วผอง
อริสยองหย่อนห้าว จงมีชัยชนะทุกด้าวปราบล้างไพรีแลนา

สัพพะสิทธิภะวันตุโว ขอสรรพพรจงประสาทประสิทธิ์
สำเร็จแก่ข้าเสร็จสมดังข้าพร้องพร่ำถวายฉะนี้เทอญ

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2552

คำกล่าวตรวจน้ำแบบโบราณ

อุกาสะ ทักขิโนกัง ธัมมะรังยาจามะ
ทุติยัมปิ ทักขิโนกัง ธัมมะรังยาจามะ
ตะติยัมปิ ทักขิโนกัง ธัมมะรังยาจามะ
ปัจจะมาเร กิเลนาโถ สัตโต สัมโพ วิมุตตะมัง จตุสัจจัง ปะกาเสนติ
อิเมทานัง อาสวะโหตุ มหาเวรัง วันทามิหัง พลานิสงค์
อิมินากัมเมนะ อันว่าบุญแห่งข้าพเจ้าได้สดับตรับฟัง พระธรรมเทศนา
สวดมนต์ภาวนา รักษาศิล ได้กระทำการกุศล
ผลบุญแห่งข้า ในปีนี้ก็ดี เดือนนี้ก็ดี และในวันนี้ก็ดี
ข้าจะขอหล่อหลั่ง น้ำทักขิโนทก ไปถึงบิดามารดา บุตรา บุตรี สามีแห่งข้า
ครูอุปัฌา ญาติกาทั้งหลาย พระภูมิพระพาย พระนารายณ์เรืองศรี เจตภูตทั้งสี่
พระภูมิเจ้าที่ ธรณีคงคา ทั้งท้าวพยา มหากษัตริย์
จตุโลกบาล พระอินทร์ พระพรหม พระยมพระกาฬ
พระจันทร์ พระอาทิตย์ เรืองฤทธิ์สูงสุด พระอังคาร พระพุธ หยุดอยู่ในราศรี
พฤหัสบดี ราศรีบ่อรู้เศร้า พระศุกร์ พระเสาร์ เข้าเวียนกันมา
ฤษีเรืองเดช พระเกตุเทวา รับส่วนบุญข้า แผ่ผลให้ไป ทุกองค์เทวา
อินทร์สวนเจ้าฟ้า ครุฑานาคี กินรากินรี พระเพลิงเรืองศรี รัศมีแกล้วกล้า
เทวดาทุกหย่อมหญ้า อยู่ทุกหมู่ไม้
พวกเปรตอสูรการย ฝูงสัตว์ทั้งหลาย ถูกโบยตีฟันฆ่า ด้วยวาจาและกาย
เจ้ากรรมนายเวร ตัวเป็นจำตาย เจ้าบาปนายกรรม เพราะทำท่านไว้
สัตว์เล็กสัตว์ใหญ่ จำได้มิได้ ท่านจงมารับเอา ส่วนอโหสิกรรมแก่กัน
ข้าขอแผ่กุศลนั้น ไปถึงท่านทุกคน ท่านจงมารับเอา ส่วนกุศล ผลบุญแห่งข้า
ทั้ง 16 ชั้นฟ้า 15 ชั้นดิน ทั่วสิ้นจักรวาฬ วิมาณเมืองบน
ท้าววิรุฬหก ท้าววิรุณปักษ์ ท้าวกุเวรราชชั้นบน ทศรถพรหมมา
มาช่วยรักษาให้อายุแห่งข้ายืนยิ่งขึ้นไป
ศัตรูคิดร้าย ฝ่ายแพ้อำนาจ โรคาพินาศสูนหาย
สิ่งที่เป็นมาร อันตะธานหายไป
ขอปัญญาข้าไว ทรงพระไตรปิฎก โปรดสัตว์ทั่วโลก เทวามนุษย์
ขอปัญญาข้าบริสุทธิ์ เหมือนพระพุทธโคษา
ขอให้อายุแห่งข้า ยืนยิ่งกว่าบุคคล
เดชะกุศล ผลบุญทำมา
เบ็ญจกรรมทั้ง 5 อย่าได้มาต้องกระทำ ชีวามนุษย์ถรรกรรม จำล้างห่างไกล
อันสิ่งใดเล่าพระพุทธเจ้าติเตียน อย่าได้วลเวียน ติดตัวพัวพัน จนสิ้นอาสันต์
เข้าสู่พระนิพพาน
ข้าขอเกิดทัน พระศรีอริยะไมตรีที่ท่านจะลงมา ในภายภาคหน้านี้
จอมปราชย์ศาสดาที่ท่านลงมาตรัส
ข้าขอปฏิบัติ เกิดทันพระองค์ ผลบุญช่วยส่ง ติดตามตัวข้า
ถ้ามาดแม้นว่า ตัวข้าถึงกาล ทำลายเบ็ญจขันธ์ อินทรีย์ทั้ง 5
ผลบุญจงมา อุปถัมภ์กำจัด ซึ่งบาปกรรมเสีย จำล้างห่างไกล
ข้าขอจุติ ขึ้นไปเกิดใน เมืองแก้ว อันกล่าวแล้ว พระนคร คือ นิพพาน
พุทโธอะนัน ธัมโมจักรวาฬ สังโฆนิพพาน
นิพพานนะ ปัจจะโยโหตุ นิพพานนะ ปัจจะโยโหตุ นิพพานนะปัจจะโยโหตุ
ขอให้มีอายุ วัณโณ สุขัง พลัง ฯลฯ

วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

คาถาบูชา พระสุปฏิปันโน เรียงตามปีอุปฌาชย์*

คาถาบูชา พระสุปฏิปันโน เรียงตามปีอุปฌาชย์
หลวงปู่เทพโลกอุดร
หลวงปู่ทวด 2145
สมเด็จโต 2351 พระบิณฑบาติ 6.45
หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ ศิษย์สมเด็จโต 2351
หลวงพ่อปาน สมุทรปราการ 2388
หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง 2390
หลวงพ่อแย้ม วัดด่านสำโรง 2407
หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า 2412
หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย 2413
หลวงพ่อเดิม 2423
หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม 2427
หลวงปู่เผือก 2433
หลวงปู่มั่น 2433 2436
หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก 2435
หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค 2439
หลวงพ่อทอง วัดราชโยธา/วัดลาดบัวขาว เกิด 2364 ถ้า 20 ปีบวช 2384
หลวงปู่ภู วัดอินทร์ 2394
กรมหลวงชุมพร ประสูต 2423
หลวงพ่ออี๋ สัตหีบ 2433
ครูบาศรีวิชัย 2441 2442
ลูกศิษย์ ครูบาพระครูบาชุ่ม พุทธโก วัดไชยมงคล
หลวงพ่อสด วัดปากน้ำภาษีเจริญ 2449
หลวงพ่อสมชาย จิตวิริโย 2489
หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี 2450
หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ 2450 2451
หลวงปู่ดูลย์ อนุโล 2452 ???
หลวงพ่อดำ มุจลินทร์ 2459
ครูบาพรหมมา พรหมจักโก วัดพระพุทธบาทตากผ้า 2461
หลวงปู่ขาว อนาลโย 2462
หลวงปู่สาม อกิญจโน 2462
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร 2462
หลวงปู่เทสก์ เทสรังษี วัดหินหมากเป้ง หนองคาย 2466
หลวงปู่หลุย จันทสาโร 2466
เจ้าคุณนรรัตน์ 2468
ท่านพ่อลี 2468
หลวงปู่ดู่ พรหมปัญญา 2468
พุทธทาส 2469
หลวงพ่ออุตตมะ 2473
หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ 2474
หลวงพ่อทิม วัดช้างไห้ 2474
หลวงพ่อเกษม เขมโก 2475
สมเด็จพระญาณสังวร 2476
หลวงพ่อฤษีลิงดำ 2480
หลวงพ่อหนอ วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ 2481
ยุบหนอ พองหนอ
หลวงพ่อชา วัดหนองป่าพง 2482
พระอุบาลี ปัญญา วัดไร่ขิง 2485 รวย
หลวงพ่อคูณ 2487 ด่านขุนทด นครราชสีมา
หลวงพ่อจรัญ 2491 อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
หลวงพ่อ วัดยานนาวา วิมุติรัตนมาลี 2493
เจ้าคุณประยุกต์ 2504
หลวงพ่อวิชัย เขมิโย 2508 อ.แม่สาย จ.เชียงราย
พระธรรมกิตติวงศ์ ทองดี สุเตโช 2510

พระคาถาหลวงพ่อเดิม (พุทธสโร) วัดหนองโพ นครสวรรค์



ร.5 ประสูติ 2396
กรมหลวงชุมพร ประสูต 2423





หลวงปู่ทวด 2145
นะโมโพธิสัตโต อาคันติมายะ อิติภควา นะมามิหัง

สมเด็จโต 2351 พระบิณฑบาติ 6.45
ชินะปัญชะระ ปริตตัง
พุทธะ พุทธา พุทเธ พุทโธ พุทธัง อะระหัง พุทโธ อิติปิโส ภะคะวา นะโม พุทธายะ

หลวงพ่อเงิน พุทธโชติ ศิษย์สมเด็จโต 2351
นะโม 3 จบ
อะกะ อะธิ อะธิ อะกะ ธิอะ กะอะ
วันทามิ อาจาริ ยันจะ หิรัญญะ นามะกัง ถิรัง
สิทธิ ทันตัง มหาเตชัง อิทธิ มันตัง วาทะรัง
สิทธิพุทธัง กิจจังมะมะ ผู้คนไหลมา นะชาลิติ
สิทธิธัมมัง จิตตังมะมะ ข้าวของไหลมา นะชาลิติ
สิทธิสังฆัง จิตตังมะมะ เงินทองไหลมา นะชาลิติ
พระฉิมพลี จะมหาลาภะ ลาภา ลาโภ ลาภัง ภะวันตุเม
โอม มะอะอุ ประสิทธิลาภา ประสันนะจิตตา ปิยังมะมะ

คาถาหลวงพ่อเงิน พุทธโชต
พระพุทธัง พระเจ้าคงหนัง พระธัมมัง พระเจ้าคงเนื้อ พระสังฆัง พระเจ้าคงกระดูก โอมเพชรคงคงตรีคงสวาหะ

ร.5 ประสูติ 2396

พระสยามมินทร์โธ วะโรอิติ พุทธะ สังมิ
อิติอะระหัง สะหัสสะกายัง วะรัง พุทโธ นะโมพุทธายะ

อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
อิเมนา พุทธธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธธะ ปิติอิ

ปิยะ มะมะ นะโม พุทธะยะ

สยามะเทวานุภาเวนะ สยามะเทวะเตชะสา
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสภา สัตตุ จะปัททะวา
อเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิภาคะยัง สุขัง พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒิ จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายุ จะ ชีวะสิทธิ ภะวันตุ เม

หลวงพ่อแย้ม วัดด่านสำโรง 2407
จะภะกะสะ

หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า 2412<
คำออาราธนาหลวงปู่ศุข
โอม อิติอะระหัง สุขะโต หลวงปู่ศุข เกสโร นามะเต ขอจงประสิทธิเม
นาย... นาง ...
อิหิอะโห นะโมพุทธายะ พุทธะสังมิ สังสิโมนา ธัมมะสังมิ โมนาสังสิ สังฆะสังมิ สิโมนาสังฯ

คาถาหลวงปู่ศุข (ป้องกันภยันอันตรายจากการเดินทาง)
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะอะอุ

บทนี้ภาวนาไว้กันโรคภัย ไข้เจ็บ โรคทั้งหลายไม่มาเบียดเบียน หากมีโรคเก่าก็จะบรรเทาหายไปในไม่ช้า ศัตรูมุ่งร้ายมิอาจทำร้ายเราได้ จะพินาศย่อยยับไปเอง

ภัชชิตาเยนะ สัทธัมมา ภัคคาปาเปนะตาทินา ภะเยสัตเตประหาสันโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง คะมิโตเยนะ สัทธัมโม คะมาปิโตสะเทวะกัง คัจฉะมาโนสิวังธัมมัง คัมยะธัมมัง นะมามิหัง

(คาถาอาราธนากรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์)
โอม ชุมพรจุติ อิทธิกะระนังสุโข นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะพะกะสะ มะอะอุ


หลวงปู่มั่น 2433
ปัญจะ มาเร ชิโน นาโถ ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง จะตุสัจจัง ปะกาเสสิ
ธัมมะจักกัง ปะวัตตะยิ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง

หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก 2435

หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค 2439

นะโม 3 จบ
พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ
วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย
พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สะวาโหม

คาถาค้าขายดี

พุทธัง พะหุชะนานัง
เอหิจิตตัง เอหิมะนุสสานัง
เอหิลาภัง เอหิเมตตา
ชมภูทีเป มนุสสานัง
อิตถิโย ปุริโส
จิตตัง พันธังเอหิ

คาถาบูชาเงิน

อิติบูชาจะมหาราชา สัพพะเสน่หา
อะระหังสัมมา สัมพุทโธมามา
ยาตรายามดี วันชัยมารศรี
วัสดีลาโภ นะโมพุทธายะ

คาถาหาลาภ
อะระหัง ปูชาสักการัง
อะระโห ปาปะการิโย
อะระหัตตะผะลัปปะโต
อะระโห นามะ จะเตนะโม

คาถามหาอำนาจ

เอวัง ราชะสิโห มะหานาทัง
สีหะนาทะกัง สีหะนะเม
สีละเตเชนะ นามะ ราชะสีโห
อิทธิฤทธิ์ พระพุทธัง รักษา สาระพัดศัตรู อะปาราธะยัง
อิทธิฤทธิ์ พระธัมมัง รักษา สาระพัดศัตรู อะปะราธะยัง
อิทธิฤทธิ์ พระสังฆัง รักษา สาระพัดศัตรู อะปะราธะยัง

คาถาอิทธิฤทธิ์

พุทโธ พุทธัง นะกันตัง อะระหัง พุทโธ
นะโม พุทธายะ อุทธัง อัทโธ นะโม พุทธายะ

ครูบาศรีวิชัย2441

หลวงพ่อสด วัดปากน้ำภาษีเจริญ 2449
สัมมา อะระหัง

หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง เชียงใหม่ 2450
ขอเมตตา

หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี 2450<
พระพุทธเจ้า 28 พระองค์
ตังเมสะทิโก ....

หลวงพ่อโอภาสี (ไม่ทราบแน่ชัด)
อิติ สุคะโต อะระหัง พุทโธ นะโมพุทธายะ ปะฐะวีคงคา พระภุมมะเทวา ขะมามิหัง

ครูบาพรหมมา พรหมจักโก วัดพระพุทธบาทตากผ้า 2461
ฟังคำสอนแล้วเข้าใจในการปฏิบัติ

หลวงปู่เทสก์ เทสรังษี วัดหินหมากเป้ง หนองคาย 2466
ให้พร
เราได้ปฏิบัติธรรม ปฏิบัติดี ปฏิบัติถูกต้องแล้ว ขอให้ทำดีต่อไป
คิดหวังสิ่งใด ปราถนาสิ่งใด ขอให้สำเร็จสมความปรารถนา
ขอให้ได้นะ ขอให้ได้นะ ขอให้สำเร็จนะ สำเร็จนะ สำเร็จนะ

เจ้าคุณนรรัตน์ 2468

ท่านพ่อลี 2468

สมเด็จพระญาณสังวร 2476

หลวงพ่อฤษีลิงดำ 2480
คาถาเงินล้าน

สัมปะจิตฉามิ
นาสังสิโม (พญาเต่าเลือน)
พรหมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ (คาถาปัดอุปสรรค)
พรหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุ เม (คาถาเงินแสน)
มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม (คาถาลาภไม่ขาดสาย)
มิเตพาหุหะติ (คาถาเงินล้าน)
พุทธะ มะอะอุ นะโมพุทธายะ
วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงหา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย
พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม (สะ-หวา-โหม) (คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า)
สัมปะติจฉามิ (คาถาเร่งลาภให้ได้เร็วขึ้น)
เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤ ฤา ฤ ฤา

นึกถึงพระพุทธเจ้าเป็นพุทธานุสสติ ถ้าภาวนาควบกับอานาปานสติ จิตยิ่งสะอาดจะยิ่งเห็นผล

หลวงพ่อหนอ วัดมหาธาตุ ท่าพระจันทร์ 2481
ยุบหนอ พองหนอ

หลวงพ่อชา วัดหนองป่าพง 2482

พระอุบาลี ปัญญา วัดไร่ขิง 2485
รวย

หลวงพ่อคูณ 2487 ด่านขุนทด นครราชสีมา

หลวงพ่อจรัญ 2491 อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

พระคาถาเรียกความจำ
มุนินทะ วะทะนัมโพชะ คัพภะสัมภวะ สุนทรี ปาณีนัง สะระณัง วาณี มัยหัง ปีณะยะตัง มะนัง
"นางฟ้า คือ พระไตรปิฎก อันเกิดจากดอกอุบล คือ พระโอษฐ์ของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เป็นที่พึ่งพำนักของสรรพสัตว์ทั้งหลาย ขอจงยังใจของข้าพเจ้าให้เอิบอิ่มปรีดาปราโมทย์รู้แจ่มแจ้งแทงตลอดจำได้
(ปฏิบัติตามได้) ซึ่งพระไตรปิฎกทั้งโลกียะ และโลกุตระนั้นเทอญ"

หลวงพ่อวิชัย เขมิโย 2508 อ.แม่สาย จ.เชียงราย

เจ้าคุณประยุกต์

พุทธทาสภิกขุ

คาถาพระครูบาชุ่ม พุทธโก วัดไชยมงคล

วิวะ อะวะ สุสะตะ วิวะสวาหะ

ระลึถึงพระครูบาศรีวิชัย และพระครูบาชุ่ม


พระคาถาบูชาเทพยาดานพเคราะห์

พระคาถาหลวงพ่อเดิม (พุทธสโร) วัดหนองโพ นครสวรรค์

นะโม 3 จบ

นะโม เม สัพพะเทวานัง สัพพะคะระหะ จะ เทวานัง
สุริยัญจะ ปะมุญจะถะ สะสิ ภุมโม จะ เทวานัง
วุโธ ลาภัง ภะวิสสะติ ชีโว สุกะโร จะ มะหาลาภัง
โสโร ราหูเกตุ จะ มะหาลาภัง สัพพะ ภะยัง วินาสสันติ
สัพพะทุกขัง วินาสสันติ สัพพะ โรคัง วินาสสันติ
ลักขะณา อะหัง วันทามิ สัพพะทา สัพเพเทวา มัง ปาลายันตุ
สัพพะทา เอเตนะ มังคะละเตเชนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุเม

ป้ายกำกับ

ป้ายกำกับ

คลังบทความของบล็อก