วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2552

มารยาท ในการสนทนา

1. อย่าเอาความไม่ดีของผู้อื่นไปพูดให้ใครฟัง

2. อย่าตะโกนข้ามหัวผู้อื่น

3. อย่าทำให้ผู้ที่พูดคุยด้วยรู้สึกว่าขายหน้า

4. พูดคุยด้วยเสียงดังพอประมาณ

5. ต้องวางตัวและพูดคุยให้เหมาะสมกับสถานที่

6. ไม่พูดคุยอวดอ้างความรวยหรือความดีของตนเอง

7. หลีกเลี่ยงการพูดคุยหรือวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องศาสนา การเมือง หรือความรัก

8. ไฟในอย่านำออก ไฟนอกอย่านำเข้า

9. ไม่ควรพูดนินทาผู้อื่นในแง่ลบ

10. รู้จักควรไม่ควร และรู้จักที่ต่ำที่สูง

11. รักษาความลับให้เป็น

12. ต้องรักษาคำมั่นสัญญาที่ให้ไว้

13. อย่าพูดทับถมหรือเกทับผู้อื่น

14. แสดงความจริงใจและมีความจริงใจในการพูดคุย

15. อย่าพูดคำหยาบลามก

16. อย่าพูดส่อเสียด

17. อย่าพูดจากดูถูกเหยียดหยาม

18. อย่าพูดจาติเตียน

19. อย่ายกยอจนเกินเลย

20. อย่าบอกปัดหรือปฏิเสธในความดีของผู้อื่น

21. พูดให้มีสาระ

22. อย่าพูดมากจนน่ารำคาญ

23. อย่าพูดจาล้อเลียนใคร

24. อย่าพูดจาให้ร้ายป้ายสีใคร

25. อย่าพูดคำสบถสาบาน

26. อย่าถ่อมตัวมากเกินไป

27. รู้จักเปลียนหัวข้อพูดคุย

28. รู้จักเลือกหัวข้อที่จะพูดคุย

29. อย่าเป็นคนขี้บ่น

30. ไม่ควรปรับทุกข์กับผู้อื่นโดยไม่จำเป็น

วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552

จิติ วิตัง นะกรึง คะรัง

คาถาฝากสมบัติ อินทะภัคคะยัง เทวะภัคยัง

อินทะภัคคะยัง เทวะภัคยัง
พรหมะภัคยัง มหาพรหมะภัคยัง
อิสีภัคยัง มหาอิสีภัคยัง
มุนีภัคยัง มหามุนีภัคยัง
ปุริสะภัคยัง มหาปุริสะภัคยัง
จักกะวัตติภัคยัง มหาจักกะวัตติภัคยัง
พุทธะภัคยัง ปัจเจกะพุทธตัคยัง
อะระหันตะพุทธะภัคยัง สัพพะสิทธิวิชชา จะระณะภัคยัง
สัพพะโลกาธิปะติญาณะภัคยัง สัพพะโลกะจะริยะญาณะภัคยัง
เอเตนะ ภัคเยนะ เอเตนะ สัจจะวะจะเนนะ
มะมะ สุวัตถิโหตุ มัยหัง สวาหายะ
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ
เสยยะถีทัง หุรูหุรูสวาหายะ

คาถาเรียกลาภ อินทะนิพพานัง

อินทะนิพพานัง เทวะนิพพานัง
พรหมนิพพานัง มหาพรหมะนิพพานัง
อิสีนิพพานัง มหาอิสีนิพพานัง
มุนีนิพพานัง มหามุนีนิพพานัง
มหาจักกะวัตตินิพพานัง พุทธะนิพพานัง
ปัจเจกะพุทธะนิพพานัง อะระหันตะนิพพานัง
สัพพะสิทธิวิชชา จะระณะนิพพานัง
สัพพะโลกาธิปะติญานะนิพพานัง สัพพะโลกะจะริยะญาณะนิพพานัง
เอเตนะนิพพาเนนะ เอเตนะสัจจะวะจะเนนะ
มะมะ สุวัติถิโหตุ มัยหัง สวาหายะ
นะโมพุทธัสสะ นะโมธัมมัสสะ นะโมสังฆัสสะ
เสยยะถีทัง หุรู หุรู สวาหายะ

คาถาพระสีวลี พระสังกัจจายน์ พระอุปคุต

(พระศรีอารยะเมตไตร เศียรเกลี้ยงไม่มีเม็ดผม และครองจีวรเปิดหน้า)
พระสังขกัจจายน์ ขมวดผมแบบเม็ดบนศรีษะ ห่มจีวรเฉียง มีสังฆาฏิพาดไหล่
ผู้มีปฏิภาณเฉียบแหลม เลิศทางอธิบายความพุทธภาษิต

ให้อธิษฐานทุกวัน เช้าตอนก่อนออกทำงาน-ก่อนนอน หรือ 20.30 น ยิ่งดีเพราะโยคีปฏิบัติแผ่เมตตา
ให้วางจิตเบา ๆ โน้มนำพระบารมีเข้าตัว หรือผู้ที่ได้แล้ว จะเห็นเองว่าจะมีพระบารมีเข้าตัวเป็นแสงสว่างวาบ
ซึ่งส่วนใหญ่รังสีทางโชคลาภมักจะเป็นรังสีสีทอง

พระสีวลี เลิศทางโชคลาภ บวชในสำนักพระสารีบุตร
พระมหากัจจายนะ พระพุทธเจ้าบวชให้ เลิศทางอธิบายธรรมโดยย่อ และทางโชคลาภ
พระอุปคุต บวชหลังจากพุทธกาลประมาณ 200 ปี

พระคาถาขอโชคลาภจากสวรรค์
นะโม 3 จบ
อินทะปุญญัง มหาปัญโญ พุทโธ เทสัง ปิยัง โหตุ
สีวลีนัง มหานาโม กัจจายะนะทิวสัง ลาโภ นามะนัง โหตุ
ท่องบนเป็นประจำ โชคลาภไหลมาเทมา ชีวิต มีแต่ความสมหวัง ไม่มีติดขัด
อย่าลืมใส่บาตร แล้วแผ่บุญให้เทพเทวา ที่ท่านช่วยเหลือเราด้วยนะ
คาถาบูชา 3 พระอรหันต์แห่งโชคลาภ
อิมินา สักกาเรนะ พุทธังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆังปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สีวลีเถระ ปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ สังกัจจายน์เถระ ปูเชมิ
อิมินา สักกาเรนะ อุปคุตเถระ ปูเชมิ
สีวลี สังกัจจายน์ อุปคุต จะ มหาเถโร
เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ ตังสะทา
เอหิบูชา เอหิจิตติจิตตัง อินทาพรหมมัง มะนุสสังจะปูชิตัง
สีวลี อาราธนานัง นะชาลีติ
สังกัจจายน์ อาราธนานัง นะปุเนวัง
อุปคุต อารธนานัง จิตติลาภัง จิตตังสุขัง
สีวลี ประสิทธิเม สัพพะลาภัง สะทาโสตถี
สังกัจจายน์ ประสิทธิเม มหาโภคัง สุขัง ปัจจะยาทิมหิ
อุปคุต ประสิทธิเม มหาลาภัง สัพพะสุโข ภวันตุเม
(สวดวันละ 9 จบ หรือ 11 จบ)
บูชาด้วยดอกไม้ขาว ดอกไม้มีกลิ่นหอมและดอกบัวทุกชนิด อย่างละ 3-5-7 ดอก
น้ำสะอาด 1 ถ้วย ลอยดอกมะลิไว้บนน้ำ
จุดธูปเทียนบูชาแล้วสวดคาถา อธิษฐานขอโชคสำเร็จ
วันพฤหัสบดี ถวายน้ำผึ้ง น้ำมะพร้าวอ่อน กล้วย
สีวะลี จะ มะหาเถโร   เทวะตา นะระปูชิโต   โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ   สีวะลี จะ มะหาเถโร   ยักขา เทวา ภิปูชิโต โส ระโห ปัจจะยาทิมหิ   อะหัง วันทามิ ตังสะทา สีวะลี เถรัสสะ เอตัง  โสตถิลาภัง ภะวันตุ เม
นะ นโม ความอ่อนน้อมไม่กระด้างดื้อดึง
ชา ชาคริยานุโยค การประกอบความเพียรตื่นอยู่ไม่เห็นแก่นอนมากนัก
ลี ลีฬหะ การเยื้องกรายขวนขายในธุระที่ชอบ
ติ อิติ ดังนี้

สิทธิกิจจัง

สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิการิยะตะถาคะโต
สิทธิลาโภ สิทธิเตโช สัพพะสิทธิภะวันตุโว

สิทธิกิจจัง กิจจานุกิจ ซึ่งบำเพ็ญกรณียกิจ
จงสำเร็จ เสร็จสมดังข้าพร้องพร่ำถวายฉะนี้เทอญ

สิทธิกัมมัง การงานผดุงเพื่อบำรุงรักษา
อย่าเริศอย่าโรยช้า สิทธิได้พลัน ๆ เทอญแลนา

สิทธิการิยะตะถาคะโต พระสรรเพชญ์เผด็จมารมอดฉันใด
ปลอดภัยแผ้วคลาดแคล้วพ้นภัยพาลฉับพลันเทอญ

สิทธิลาโภ นิรันตะรัง อีกราชลาภทุกสิ่งสรรพ
จงนิรันดรหลั่งล้น ดังหนึ่งนทีธารท้น อย่ารู้ขาดสูญเลยนา

สิทธิเตโช ชะโยนิจจัง เดชอำนาจแผ่ทั่วผอง
อริสยองหย่อนห้าว จงมีชัยชนะทุกด้าวปราบล้างไพรีแลนา

สัพพะสิทธิภะวันตุโว ขอสรรพพรจงประสาทประสิทธิ์
สำเร็จแก่ข้าเสร็จสมดังข้าพร้องพร่ำถวายฉะนี้เทอญ

ป้ายกำกับ

ป้ายกำกับ

คลังบทความของบล็อก